Menu
หน้าแรก
ดูบอลสด
ตารางบอลวันนี้
ตารางบอลพรุ่งนี้
ผลบอลย้อนหลัง
ทายผลบอล
ข่าววันนี้
ข่าวเด่นวันนี้
ข่าวพรีเมียร์ลีค
ข่าวลาลีกา
ข่าวบุนเดสลีกา
ข่าวกัลโซ่ ซีเรียอา
ข่าวลีกเอิง
ข่าวไทยพรีเมียร์ลีก
ข่าวยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก
ข่าวยูโรป้า
ข่าวฟุตบอลโลก
ลิ้งดูบอล
คลิปไฮไลท์
ไฮไลท์ฟุตบอลอุ่นเครื่อง
ไฮไลท์พรีเมียร์ลีก
ไฮไลท์ลาลีกา
ไฮไลท์บุนเดสลีกา
ไฮไลท์กัลโซ่ ซีเรียอา
ไฮไลท์ลีกเอิงฝรั่งเศษ
ไฮไลท์ไทยพรีเมียร์ลีก
ไฮไลท์ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก
ไฮไลท์ยูโรป้า
ผลบอล
ดูทีวีออนไลน์
วิเคราะห์บอล
ตารางคะแนน
พรีเมียร์ลีค
แชมเปี้ยนชิพอังกฤษ
ลาลีกา
บุนเดสลีกา
กัลโซ่ซีเรียอา
ลีกเอิงฝรั่งเศส
ไทยพรีเมียร์ลีก
ไทยดิวิชั่น1
Holland Eredivisie
บุนเดสลีก้า2 เยอรมัน
ลาลีกา2 สเปน
ซูเปอร์ลีกา โปรตุเกส
เว็บบอร์ด
การรับประทานอาหารบำรุงสมอง ในรูปแบบอาหารฟังก์ชัน
จะเห็นได้ว่า
สารอาหารต่างๆ
ที่ส่งผลต่อการทำงานของสมองพบได้ในทั่วไปทั้งใน
เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ และเครื่องดื่ม
อย่างไรก็ตาม แหล่งอาหาร วิธีการปรุง วัตถุดิบแต่งรส หรือปริมาณบริโภค อาจส่งผลให้สารอาหารเหล่านั้นแปรเปลี่ยนไปได้ เมื่อประกอบกับพฤติกรรมของผู้คนในปัจจุบันกลุ่มที่มักมีเวลาไม่มากนัก หลายคนจึงรับประทาน
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในรูปแบบต่างๆ เป็นตัวช่วย
ทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจได้แก่ การรับประทาน
อาหารบำรุงสมอง
ในรูปแบบอาหารฟังก์ชัน (Functional Food) ซึ่งมีคำจำกัดความว่า “อาหาร หรือสารอาหารชนิดใดๆ ที่ให้ผลต่อสุขภาพทางกาย หรือทางใจ เป็นผลที่ถือว่า เป็นมูลค่าเพิ่มจากคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร หรือสารอาหารนั้นๆ” ความหมายของอาหารฟังก์ชันในแต่ละประเทศมีความแตกต่างกัน เช่น
อาหารฟังก์ชันในประเทศญี่ปุ่นจะต้องมาจากธรรมชาติ
และรับประทานร่วมกับมื้ออาหารปกติได้ ไม่ได้รับประทานแบบยา รวมถึงส่งผลต่อระบบของร่างกายของผู้รับประทานด้วย เช่น เสริมภูมิต้านทานจากบางโรค
ช่วยชะลอความแก่
ตัวอย่างอาหารฟังก์ชันซึ่งเข้ากับคำจำกัดความดังกล่าวที่มีวางขายในประเทศไทย ได้แก่
ซุปไก่สกัด
ซึ่งมีสารอาหารที่มีโมเลกุลเล็ก
ดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้รวดเร็ว ดื่มสะดวก
สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้คนที่เร่งรีบ ไม่ค่อยมีเวลามากนัก
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สมองทำงานดีขึ้น
ได้ อย่างไรก็ตาม การเลือกรับประทาน
อาหารบำรุงสมอง
ที่มีประโยชน์เพียงอย่างเดียวไม่สามารถทำให้สมองทำงานอย่างเต็มประสิทธิภาพได้ เพื่อให้สมองทำงานเต็มที่และไม่เสื่อมเร็วกว่าที่ควร คุณควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคู่ไปด้วย ดังนี้
- รับประทานอาหารเป็นเวลา
- ไม่งดอาหารเช้า
- เลือกอาหารไขมันต่ำและมีคุณภาพ
- หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มกาเฟอีนและแอลกอฮอล์
- ออกกำลังกายอย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ
- ทำกิจกรรมฝึกสมอง
- ฝึกสมาธิ
- ผ่อนคลายความเครียด
- ดูแลสุขภาพหัวใจ
- พักผ่อนให้เพียงพอ
- ดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอ
อย่างไรก็ตาม ไม่ควรงดอาหารชนิดใดชนิดหนึ่งไปเลยโดยสิ้นเชิง ควรรับประทานให้หลากหลายในปริมาณที่เหมาะสม เพราะดังที่กล่าวไปในบทความว่า สารอาหารบางอย่างมีการทำงานเกี่ยวเนื่องหรือส่งเสริมคุณค่าของกันและกัน
ตอบคำถาม
ตั้งคำถามใหม่
โพสต์โดย : solo
เมื่อ 22 พ.ย. 2566 07:15:58 น. อ่าน 49 ตอบ 0
Member
Login
ลืมรหัสผ่าน
|
สมัครสมาชิกใหม่
ดูฟุตบอลออนไลน์